4. เมทัน แห่งกรุงเอเธนส์ (Meton of Athens) 452 ปีก่อนคริสศักราช
เมทัน (Meton) เป็นบุคคลสำคัญในยุคกรีก เขาเป็นนักดาราศาสตร์ นักคณิตศาสตร์
นักเรขาคณิต และเป็นวิศวกร อาศัยอยู่ในกรุงเอเธนส์ ในสมัยศตวรรษที่ 5 เมทัน ( Meton) ได้ศึกษาหาความรู้และนำข้อมูลหลักโดยเฉพาะดาราศาสตร์ มาจากชาวคัลเดียน
และชาวอียิปต์ เพื่อนำมาทำปฏิทิน
ในปี 432 ก่อนค.ศ. เขาได้นำเสนอ วงรอบ 19 ปีของอาทิตย์กับจันทร์ (the lunisolar ) ที่เรียกว่า เมโทนิค ไซเคิ้ล ( Metonic cycle) ในรูปแบบของ ปฏิทินสุริยห้องใต้หลังคา
เมทัน(Meton)ได้สังเกตเห็นว่าระยะเวลา 19 ปี สุริยคติที่เกือบจะเท่ากับ 235 เดือนจันทรคติ (Synodic) และ ปัดเศษเต็มวันโดยนับได้ 6,940 วัน ความแตกต่างระหว่างวงรอบทั้งสอง ( 19 ปีสุริยคติ และ 235 เดือนจันทรคติ ) ซึ่งต่างกันเพียง ไม่กี่ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับคำจำกัดความของคำว่า “ ปี “ (Year)
ในปี 432 ก่อนค.ศ. เขาได้นำเสนอ วงรอบ 19 ปีของอาทิตย์กับจันทร์ (the lunisolar ) ที่เรียกว่า เมโทนิค ไซเคิ้ล ( Metonic cycle) ในรูปแบบของ ปฏิทินสุริยห้องใต้หลังคา
เมทัน(Meton)ได้สังเกตเห็นว่าระยะเวลา 19 ปี สุริยคติที่เกือบจะเท่ากับ 235 เดือนจันทรคติ (Synodic) และ ปัดเศษเต็มวันโดยนับได้ 6,940 วัน ความแตกต่างระหว่างวงรอบทั้งสอง ( 19 ปีสุริยคติ และ 235 เดือนจันทรคติ ) ซึ่งต่างกันเพียง ไม่กี่ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับคำจำกัดความของคำว่า “ ปี “ (Year)
โดยพิจารณา 1 ปี เท่ากับ 1 / 19 ของวงรอบ 6,940 วัน
ซึ่งเราจะได้จำนวนวันต่อหนึ่งปีเท่ากับ 365 + 1 / 4 + 1 /76 วัน (ตัวเลขที่ไม่ปัดเศษจะให้ความแม่นยำมากกว่า)
ซึ่งมันจะมากกว่า 12 เดือนจันทรคติเล็กน้อย เพื่อที่จะให้ 1 ปีสุริยคติมี 12
เดือนของจันทร์ จะต้อง มีเดือนที่ 13 (อธิกมาส)
โดยเพิ่มขึ้นมาอีก 7 เดือน ในวงรอบ 19 ปีสุริยคติ ( 235 =19 x12 +7 )
เมื่อ เมทัน(Meton) ได้นำเสนอวงรอบนี้เมื่อ 432 ก่อน คริสต์กาล นักดาราศาสตร์ชาวบาบิโลนได้รู้วงรอบนี้ก่อนหน้าเมทัน (Meton)แล้ว กลไกการคำนวณถูกสร้างขึ้นใน Antikythera mechanism
เมื่อ เมทัน(Meton) ได้นำเสนอวงรอบนี้เมื่อ 432 ก่อน คริสต์กาล นักดาราศาสตร์ชาวบาบิโลนได้รู้วงรอบนี้ก่อนหน้าเมทัน (Meton)แล้ว กลไกการคำนวณถูกสร้างขึ้นใน Antikythera mechanism
วงรอบเมโทนิค( Metonic cycle) นี้ ถูกใช้ในปฏิทินของชาวบาบิโลน และ
ระบบปฏิทินจีนโบราณ (กฏของวงรอบ “ 章“) และ the medieval
computes (ยกตัวอย่าง
การคำนวณวันของชาวตะวันออก ) ซึ่งมันเป็นวงรอบ 19 ปีปกติที่เพิ่มเดือน ( อธิกมาส )
ของปฏิทินชาวฮิบรู
รากฐานหอดูดาวเมทัน ในกรุงเอเธนส์ ยังคงปรากฏอยู่ด้านหลังเวที ของ Pnyx ซึ่งเป็นรัฐสภาโบราณ
เมทัน(Meton) ได้สังเกตดวงอาทิตย์ขณะขึ้นจากหอดูดาวของเขา
ณ วันที่ จุดวิษุวัต ( equinoxes )และ จุดมายัน ( solstices )
เขาได้พบว่า ระหว่างช่วง ครีษมายัน ดวงอาทิตย์ขึ้นในแนวเดียวกับภูเขา Lycabetus ซึ่งเป็นภูเขาในท้องถิ่นแถวนั้น ขณะที่ 6 เดือนต่อมา ในช่วงเหมายัน ดวงอาทิตย์ขึ้นเหนือไหล่เขา Hymettos ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของภูเขา Lycabetus
เขาได้พบว่า ระหว่างช่วง ครีษมายัน ดวงอาทิตย์ขึ้นในแนวเดียวกับภูเขา Lycabetus ซึ่งเป็นภูเขาในท้องถิ่นแถวนั้น ขณะที่ 6 เดือนต่อมา ในช่วงเหมายัน ดวงอาทิตย์ขึ้นเหนือไหล่เขา Hymettos ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของภูเขา Lycabetus
ดังนั้นจากหอดูดาวของ เมทัน (Meton) ปรากฏว่าดวงอาทิตย์ (sun) ได้เคลื่อนเป็นระยะทาง 60 องศา ระหว่างสองจุดนี้ บนเส้นขอบฟ้าทุก
ๆ 6 เดือน ซึ่งจุดกึ่งกลางของเส้นโค้งวิษุวัต ของหอดูดาว อยู่ในแนวเดียวกันกับ
เมืองโบราณ Acropolis ซึ่งลักษณะภูมิประเทศเหล่านี้มีส่วนสำคัญ
เพราะจุดครีษมายันเป็นจุดนับเวลาจากสมัยเอเธนส์ได้กำหนดเป็นจุดเริ่มต้นของปีปฏิทิน
ซึ่งเดือนแรกของปีใหม่ เรียกว่า Hekatombaion เริ่มต้นพร้อมกับ
อมาวสีแรก หลังจุดครีษมายัน
เมทัน (Meton) ได้ขึ้นบรรยาย ตัวละคร ในบทละครของ Aristophanes เรื่อง
The Birds ในปี 414 ก่อนคริสต์กาล
เขาขึ้นบนเวทีโดยนำเครื่องมือสำรวจ และอธิบายถึง เรขาคณิต
ซึ่งเรารู้จักเมทัน (Meton)ไม่มากนัก ผ่านบันทึกประวัติศาสตร์ ตามที่ปโตเลมี
ได้บันทึกไว้ใน ตารางชื่อกลุ่มดาวที่สร้างขึ้นในกรุงเอเธนส์
ซึ่งเป็นบันทึกการสังเกตของเมทัน (Meton) และมีคำอธิบายขยายความของ Metonic cycle นอกจากนี้ไม่ปรากฏผลงานของเมทัน (Meton) เหลืออยู่เลย
ดังนั้นจาก หอดูดาวของ เมทัน( Meton)ปรากฏว่าดวงอาทิตย์ได้เคลื่อนเป็นระยะทาง 60 องศา ระหว่างสองจุดนี้ บนเส้นขอบฟ้าทุก
ๆ 6 เดือน ซึ่งจุดกึ่งกลางของเส้นโค้งวิษุวัต ของหอดูดาว อยู่ในแนวเดียวกันกับ
เมืองโบราณ Acropolis ซึ่งลักษณะภูมิประเทศเหล่านี้มีส่วนสำคัญ
เพราะจุดครีษมายันเป็นจุดนับเวลาจากสมัยเอเธนส์ได้กำหนดเป็นจุดเริ่มต้นของปีปฏิทิน
ซึ่งเดือนแรกของปีใหม่ เรียกว่า Hekatombaion เริ่มต้นพร้อมกับ
อมาวสีแรก หลังจุดครีษมายัน
ขอบคุณ แหล่งข้อมูล และรูปภาพประกอบ
1.wikipedia
2.หลักสูตร “คัมภีร์สุริยยาตร์ ๒๕๕๐”ของมูลนิธิสมาคมโหรแห่งประเทศไทยในพระสังฆราชูปถัมภ์ บรรยายโดย อ.วรพล ไม้สน (พลังวัชร์)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น